![](https://fbcdn-sphotos-a-a.akamaihd.net/hphotos-ak-prn1/149160_176519992486466_1710103447_n.jpg)
Monday, November 19, 2012
Box Plot
BoxPlot คือ กราฟชนิดหนึ่ง คิดค้นขึ้นเมื่อปี 1977 โดยนักสถิติชาวอังกฤษชื่อ N A Sheldon ใช้แสดงสาระที่สำคัญของข้อมูลคือ
ค่ากลาง ค่าการกระจาย สัดส่วนข้อมูลที่มากหรือน้อยกว่าค่ากลาง
(Symmetry ) รวมทั้งข้อมูลที่อยู่ห่างจากกลุ่มมากๆ
(Outlier)
Box
plot จะแสดงข้อมูลทั้งหมดออกมา 3 Quartiles โดยมีการจัดเรียงอันดับของข้อมูลแล้ว
ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q1 (Quartile 1) คือข้อมูล 25%
แรกจากค่าต่ำขึ้นมา จะแสดงในรูปเส้นตรง หนึ่งเส้น (Whisker)
ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q2 คือข้อมูลตัวที่มากกว่า
25% จนถึงตัวที่ 75% โดยแสดงออกมาในรูป
สี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายใน Q3 นี้ จะมีค่าที่ 50% ของข้อมูลอยู่ เขียนแทนด้วยเส้นตรงอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ค่านี้คือค่าค่ากลางของข้อมูลทั้งหมด (Median) และตรงค่า
เฉลี่ย (Mean) จะแทนด้วย เครื่องหมายบวก
โดยที่ค่าอาจจะเท่าหรือต่างกับค่า Median ก็ได้
ส่วนค่าที่ตกอยู่ภายใต้ Q3 คือตัวที่มากกว่า 75%
ขึ้นไป จะเขียนแทนด้วยเส้นตรง เช่นเดียวกับ Q1
วิธีหาจุดเริ่มต้นของ Q1 และจุดสุดท้ายของ Q3 จะหามาจากสมการตามที่ปรากฏ อยู่ในรูป ดังนั้น ค่าที่ต่ำกว่า ค่าเริ่มต้นของ Q1 และค่าสุดท้ายของ Q3 จะเรียกว่า Outlier เขียนสัญญลักญ์แทนด้วย *
ถ้าสังเกตดูเราจะพบว่า เส้นค่ากลางจะแบ่งจำนวนขอ้มูลใน Q2 ออกเป็นสองส่วนเท่าๆกัน ดังนั้นถ้า ค่ากลางนี้ไม่ได้อยู่ตรงกลางรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า นั่นหมายถึงรูปกราฟจะเบ้ ไป หรือความหนาแน่นของข้อมูลจะไม่เท่ากัน แต่โดยทั่วไปโปรแกรมทางสถิติจะมีคำสั่งให้ทำ Box plot ให้ใช้
วิธีหาจุดเริ่มต้นของ Q1 และจุดสุดท้ายของ Q3 จะหามาจากสมการตามที่ปรากฏ อยู่ในรูป ดังนั้น ค่าที่ต่ำกว่า ค่าเริ่มต้นของ Q1 และค่าสุดท้ายของ Q3 จะเรียกว่า Outlier เขียนสัญญลักญ์แทนด้วย *
ถ้าสังเกตดูเราจะพบว่า เส้นค่ากลางจะแบ่งจำนวนขอ้มูลใน Q2 ออกเป็นสองส่วนเท่าๆกัน ดังนั้นถ้า ค่ากลางนี้ไม่ได้อยู่ตรงกลางรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า นั่นหมายถึงรูปกราฟจะเบ้ ไป หรือความหนาแน่นของข้อมูลจะไม่เท่ากัน แต่โดยทั่วไปโปรแกรมทางสถิติจะมีคำสั่งให้ทำ Box plot ให้ใช้
box plot
ใช้แสดงสาระที่สำคัญของข้อมูลคือ ค่ากลาง ค่าการกระจาย สัดส่วนข้อมูลที่มากหรือน้อยกว่าค่ากลาง ( Symmetry ) รวมทั้งข้อมูลที่อยู่ห่างจากกลุ่มมากๆ (Outlier)
Box plot จะแสดงข้อมูลทั้งหมดออกมา 3 Quartiles โดยมีการจัดเรียงอันดับของข้อมูลแล้ว ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q1 (Quartile 1) คือข้อมูล 25% แรกจากค่าต่ำขึ้นมา จะแสดงในรูปเส้นตรง หนึ่งเส้น (Whisker) ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q2 คือข้อมูลตัวที่มากกว่า 25% จนถึงตัวที่ 75% โดยแสดงออกมาในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายใน Q3 นี้ จะมีค่าที่ 50% ของข้อมูลอยู่ เขียนแทนด้วยเส้นตรงอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ค่านี้คือค่าค่ากลางของข้อมูลทั้งหมด (Median) และตรงค่า เฉลี่ย (Mean) จะแทนด้วย เครื่องหมายบวก โดยที่ค่าอาจจะเท่าหรือต่างกับค่า Median ก็ได้ ส่วนค่าที่ตกอยู่ภายใต้ Q3 คือตัวที่มากกว่า 75% ขึ้นไป จะเขียนแทนด้วยเส้นตรง เช่นเดียวกับ Q1
วิธีหาจุดเริ่มต้นของ Q1 และจุดสุดท้ายของ Q3 จะหามาจากสมการตามที่ปรากฏ อยู่ในรูป ดังนั้น ค่าที่ต่ำกว่า ค่าเริ่มต้นของ Q1 และค่าสุดท้ายของ Q3 จะเรียกว่า Outlier เขียนสัญญลักญ์แทนด้วย *
ถ้าสังเกตดูเราจะพบว่า เส้นค่ากลางจะแบ่งจำนวนขอ้มูลใน Q2 ออกเป็นสองส่วนเท่าๆกัน ดังนั้นถ้า ค่ากลางนี้ไม่ได้อยู่ตรงกลางรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า นั่นหมายถึงรูปกราฟจะเบ้ ไป หรือความหนาแน่นของข้อมูลจะไม่เท่ากัน แต่โดยทั่วไปโปรแกรมทางสถิติจะมีคำสั่งให้ทำ Box plot ให้ใช้
การดำเนินการทางคณิตศาสตร์
การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ต้องดำเนินการตามลำดับหัวข้อดังต่อไปนี้ในนิพจน์คณิตศาสตร์ จากซ้ายไปขวา
ลำดับการดำเนินการ หรือวิธีการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และภาษาโปรแกรมทางคอมเพิวเตอร์ แสดงดังนี้ คือ
1. ดำเนินการในวงเล็บก่อน จากซ้ายไปขวา
2. เลขยกกำลัง และ กรณฑ์ จากซ้ายไปขวา
3. การคูณ และ หาร จากซ้ายไปขวา
4. การบวก และ การลบ จากซ้ายไปขวา
วงเล็บและเลขยกกำลัง
เมื่อพบวงเล็บหรือเลขยกกำลังในนิพจน์ ให้ดำเนินการคำนวณนิพจน์ย่อยที่อยู่ในวงเล็บหรือคำนวณเลขยกกำลังก่อน
ตัวอย่าง:
(2 + 1) * (4 -2) + 22
3 * (4 -2) + 22
3*2 + 22
3 * 2 + 4
6+4
10
การคูณและการหาร
คำนวณผลคูณและผลหารในนิพจน์ พึงระวังว่าการคูณไม่ได้จำเป็นต้องทำก่อนการหาร การดำเนินการที่ถูกต้องเมื่อพบเครื่องหมายคูณและเครื่องหมายหารต่อเนื่องกันคือต้องทำจากซ้ายไปขวาเสมอ
ตัวอย่าง:
5 * 3 - 9 / 3
15 - 9 / 3
15 - 3
12
การบวกและการลบ
ลำดับสุดท้ายคือการบวกและการลบ เช่นเดียวกับการคูณและการหาร การบวกและการลบทำจากซ้ายไปขวาเสมอ
ตัวอย่างเมื่อคำนวณตามกฏทั้งหมด
(3+ 8) * (3 - 1) + 16 / 23
11* (3 - 1) + 16 / 23
11 * 2 + 16 / 23
11 * 2 + 16 / 8
11 * 2 + 16 / 8
22 + 16 / 8
22 + 2
24
BoxPlot
BoxPlot คือ
กราฟชนิดหนึ่ง คิดค้นขึ้นเมื่อปี 1977 โดยนักสถิติชาวอังกฤษชื่อ
N A Sheldon ใช้แสดงสาระที่สำคัญของข้อมูลคือ ค่ากลาง ค่าการกระจาย
สัดส่วนข้อมูลที่มากหรือน้อยกว่าค่ากลาง ( Symmetry ) รวมทั้งข้อมูลที่อยู่ห่างจากกลุ่มมากๆ (Outlier)
Box plot จะแสดงข้อมูลทั้งหมดออกมา 3 Quartiles โดยมีการจัดเรียงอันดับของข้อมูลแล้ว ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q1 (Quartile 1) คือข้อมูล 25% แรกจากค่าต่ำขึ้นมา จะแสดงในรูปเส้นตรง หนึ่งเส้น (Whisker) ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q2 คือข้อมูลตัวที่มากกว่า 25% จนถึงตัวที่ 75% โดยแสดงออกมาในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายใน Q3 นี้ จะมีค่าที่ 50% ของข้อมูลอยู่ เขียนแทนด้วยเส้นตรงอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ค่านี้คือค่าค่ากลางของข้อมูลทั้งหมด (Median) และตรงค่า เฉลี่ย (Mean) จะแทนด้วย เครื่องหมายบวก โดยที่ค่าอาจจะเท่าหรือต่างกับค่า Median ก็ได้ ส่วนค่าที่ตกอยู่ภายใต้ Q3 คือตัวที่มากกว่า 75% ขึ้นไป จะเขียนแทนด้วยเส้นตรง เช่นเดียวกับ Q1
boxplot
BoxPlot คือ
กราฟชนิดหนึ่ง คิดค้นขึ้นเมื่อปี 1977 โดยนักสถิติชาวอังกฤษชื่อ
N A Sheldon
ใช้แสดงสาระที่สำคัญของข้อมูลคือ ค่ากลาง ค่าการกระจาย
สัดส่วนข้อมูลที่มากหรือน้อยกว่าค่ากลาง
( Symmetry ) รวมทั้งข้อมูลที่อยู่ห่างจากกลุ่มมากๆ (Outlier)
![](https://lh3.googleusercontent.com/blogger_img_proxy/AEn0k_vA3NzdhVboPkC0FVolu5tZC-d_oSlQn6_m1Ex9289u51N4XJGJR9sxR2pnbsjID2W8PX-zql3LSPM4LnsyIQkjP9u7_jk0X83j6z8VW9Hpvslv8Xt95uC92w=s0-d)
( Symmetry ) รวมทั้งข้อมูลที่อยู่ห่างจากกลุ่มมากๆ (Outlier)
Box plot จะแสดงข้อมูลทั้งหมดออกมา
3 Quartiles โดยมีการจัดเรียงอันดับของข้อมูลแล้ว
ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q1 (Quartile 1) คือข้อมูล 25%
แรกจากค่าต่ำขึ้นมา จะแสดงในรูปเส้นตรง หนึ่งเส้น (Whisker) ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q2 คือข้อมูลตัวที่มากกว่า 25%
จนถึงตัวที่ 75% โดยแสดงออกมาในรูป
สี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายใน Q3 นี้ จะมีค่าที่ 50% ของข้อมูลอยู่ เขียนแทนด้วยเส้นตรงอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ค่านี้คือค่าค่ากลางของข้อมูลทั้งหมด
(Median) และตรงค่า เฉลี่ย (Mean) จะแทนด้วย
เครื่องหมายบวก โดยที่ค่าอาจจะเท่าหรือต่างกับค่า Median ก็ได้
ส่วนค่าที่ตกอยู่ภายใต้ Q3 คือตัวที่มากกว่า 75% ขึ้นไป จะเขียนแทนด้วยเส้นตรง เช่นเดียวกับ Q1
วิธีหาจุดเริ่มต้นของ Q1 และจุดสุดท้ายของ Q3 จะหามาจากสมการตามที่ปรากฏ อยู่ในรูป ดังนั้น ค่าที่ต่ำกว่า
ค่าเริ่มต้นของ Q1 และค่าสุดท้ายของ Q3 จะเรียกว่า Outlier เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย * Box Plot
Box Plot
ใช้แสดงสาระที่สำคัญของข้อมูลคือ ค่ากลาง ค่าการกระจาย สัดส่วนข้อมูลที่มากหรือน้อยกว่าค่ากลาง ( Symmetry ) รวมทั้งข้อมูลที่อยู่ห่างจากกลุ่มมากๆ (Outlier)
Box plot จะแสดงข้อมูลทั้งหมดออกมา 3 Quartiles โดยมีการจัดเรียงอันดับของข้อมูลแล้ว ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q1 (Quartile 1) คือข้อมูล 25% แรกจากค่าต่ำขึ้นมา จะแสดงในรูปเส้นตรง หนึ่งเส้น (Whisker) ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q2 คือข้อมูลตัวที่มากกว่า 25% จนถึงตัวที่ 75% โดยแสดงออกมาในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายใน Q3 นี้ จะมีค่าที่ 50% ของข้อมูลอยู่ เขียนแทนด้วยเส้นตรงอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ค่านี้คือค่าค่ากลางของข้อมูลทั้งหมด (Median) และตรงค่า เฉลี่ย (Mean) จะแทนด้วย เครื่องหมายบวก โดยที่ค่าอาจจะเท่าหรือต่างกับค่า Median ก็ได้ ส่วนค่าที่ตกอยู่ภายใต้ Q3 คือตัวที่มากกว่า 75% ขึ้นไป จะเขียนแทนด้วยเส้นตรง เช่นเดียวกับ Q1
วิธีหาจุดเริ่มต้นของ Q1 และจุดสุดท้ายของ Q3 จะหามาจากสมการตามที่ปรากฏ อยู่ในรูป ดังนั้น ค่าที่ต่ำกว่า ค่าเริ่มต้นของ Q1 และค่าสุดท้ายของ Q3 จะเรียกว่า Outlier เขียนสัญญลักญ์แทนด้วย *
ถ้าสังเกตดูเราจะพบว่า เส้นค่ากลางจะแบ่งจำนวนขอ้มูลใน Q2 ออกเป็นสองส่วนเท่าๆกัน ดังนั้นถ้า ค่ากลางนี้ไม่ได้อยู่ตรงกลางรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า นั่นหมายถึงรูปกราฟจะเบ้ ไป หรือความหนาแน่นของข้อมูลจะไม่เท่ากัน แต่โดยทั่วไปโปรแกรมทางสถิติจะมีคำสั่งให้ทำ Box plot ให้ใช้
ใช้แสดงสาระที่สำคัญของข้อมูลคือ ค่ากลาง ค่าการกระจาย สัดส่วนข้อมูลที่มากหรือน้อยกว่าค่ากลาง ( Symmetry ) รวมทั้งข้อมูลที่อยู่ห่างจากกลุ่มมากๆ (Outlier)
Box plot จะแสดงข้อมูลทั้งหมดออกมา 3 Quartiles โดยมีการจัดเรียงอันดับของข้อมูลแล้ว ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q1 (Quartile 1) คือข้อมูล 25% แรกจากค่าต่ำขึ้นมา จะแสดงในรูปเส้นตรง หนึ่งเส้น (Whisker) ข้อมูลที่ตกอยู่ภายใต้ Q2 คือข้อมูลตัวที่มากกว่า 25% จนถึงตัวที่ 75% โดยแสดงออกมาในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายใน Q3 นี้ จะมีค่าที่ 50% ของข้อมูลอยู่ เขียนแทนด้วยเส้นตรงอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ค่านี้คือค่าค่ากลางของข้อมูลทั้งหมด (Median) และตรงค่า เฉลี่ย (Mean) จะแทนด้วย เครื่องหมายบวก โดยที่ค่าอาจจะเท่าหรือต่างกับค่า Median ก็ได้ ส่วนค่าที่ตกอยู่ภายใต้ Q3 คือตัวที่มากกว่า 75% ขึ้นไป จะเขียนแทนด้วยเส้นตรง เช่นเดียวกับ Q1
วิธีหาจุดเริ่มต้นของ Q1 และจุดสุดท้ายของ Q3 จะหามาจากสมการตามที่ปรากฏ อยู่ในรูป ดังนั้น ค่าที่ต่ำกว่า ค่าเริ่มต้นของ Q1 และค่าสุดท้ายของ Q3 จะเรียกว่า Outlier เขียนสัญญลักญ์แทนด้วย *
ถ้าสังเกตดูเราจะพบว่า เส้นค่ากลางจะแบ่งจำนวนขอ้มูลใน Q2 ออกเป็นสองส่วนเท่าๆกัน ดังนั้นถ้า ค่ากลางนี้ไม่ได้อยู่ตรงกลางรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า นั่นหมายถึงรูปกราฟจะเบ้ ไป หรือความหนาแน่นของข้อมูลจะไม่เท่ากัน แต่โดยทั่วไปโปรแกรมทางสถิติจะมีคำสั่งให้ทำ Box plot ให้ใช้
Tuesday, November 13, 2012
Monday, November 12, 2012
ลำดับการดำเนินการ เป็นกฏใช้จัดลำดับการคิดคำนวณเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ในนิพจน์หรือสมการที่มีความกำกวมก่อนหลัง
ตัวอย่างการดำเนินการทั่วไปในคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการอธิบายลำดับความสำคัญได้แก่ การบวก (+) การลบ (−) การคูณ (×) การหาร (÷) วงเล็บ(() หรือ []) และเลขยกกำลัง(^n หรือ n)
เป็นที่ตกลงกันโดยนักคณิตศาสตร์ทั่วโลกว่าลำดับของการดำเนินการต้องเป็นความเข้าใจที่ตรงกัน
เพื่อให้การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่มีการดำเนินการมากกว่าหนึ่งครั้งเป็นไปอย่างถูกต้อง
ไม่เช่นนั้นคำตอบที่ได้จะผิดเพี้ยนไป
การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ต้องดำเนินการตามลำดับหัวข้อดังต่อไปนี้ในนิพจน์คณิตศาสตร์ จากซ้ายไปขวา
ลำดับการดำเนินการ
หรือวิธีการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และภาษาโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์
แสดงดังนี้ คือ
1.
ดำเนินการในวงเล็บก่อน จากซ้ายไปขวา
2.
เลขยกกำลัง และ กรณฑ์ จากซ้ายไปขวา
3.
การคูณ และ หาร จากซ้ายไปขวา
4.
การบวก และ การลบ จากซ้ายไปขวา
วงเล็บและเลขยกกำลัง
เมื่อพบวงเล็บหรือเลขยกกำลังในนิพจน์
ให้ดำเนินการคำนวณนิพจน์ย่อยที่อยู่ในวงเล็บหรือคำนวณเลขยกกำลังก่อน
ตัวอย่าง: (2+5)+4^2
7+12
18
การคูณและการหาร
คำนวณผลคูณและผลหารในนิพจน์
พึงระวังว่าการคูณไม่ได้จำเป็นต้องทำก่อนการหาร การดำเนินการที่ถูกต้องเมื่อพบเครื่องหมายคูณและเครื่องหมายหารต่อเนื่องกันคือต้องทำจากซ้ายไปขวาเสมอ
ตัวอย่าง: 5*3+2/6
15+3
18
การบวกและการลบ
ลำดับสุดท้ายคือการบวกและการลบ เช่นเดียวกับการคูณและการหาร
การบวกและการลบทำจากซ้ายไปขวาเสมอ
ตัวอย่างเมื่อคำนวณตามกฏทั้งหมด
8+8 + 4(4^2-2)+2 - (4/16)
16 + 4(12-2)+2 - 5
16 + 4(10)+2 - 5
16 + 40+2 - 5
58-5
53
การดำเนินการทางคณิตศาสตร์
การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ต้องดำเนินการตามลำดับหัวข้อดังต่อไปนี้ในนิพจน์คณิตศาสตร์ จากซ้ายไปขวา
ลำดับการดำเนินการ หรือวิธีการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และภาษาโปรแกรมทางคอมเพิวเตอร์ แสดงดังนี้ คือ
- ดำเนินการในวงเล็บก่อน จากซ้ายไปขวา
- เลขยกกำลัง และ กรณฑ์ จากซ้ายไปขวา
- การคูณ และ หาร จากซ้ายไปขวา
- การบวก และ การลบ จากซ้ายไปขวา
วงเล็บและเลขยกกำลัง
เมื่อพบวงเล็บหรือเลขยกกำลังในนิพจน์ ให้ดำเนินการคำนวณนิพจน์ย่อยที่อยู่ในวงเล็บหรือคำนวณเลขยกกำลังก่อนตัวอย่าง:- (2 + 3) * (4 -1) + 23
- (2 + 3) * (4 -1) + 23
- 5 * (4 -1) + 23
- 5 * (4 -1) + 23
- 5 * 3 + 23
- 5 * 3 + 8
- 5 * 4 - 9 / 3
- 5 * 4 - 9 / 3
- 20 - 9 / 3
- 20 - 9 / 3
- 20 - 3
- (1 + 8) * (4 - 1) + 16 / 23
- (1 + 8) * (4 - 1) + 16 / 23
- 9 * (4 - 1) + 16 / 23
- 9 * 3 + 16 / 23
- 9 * 3 + 16 / 8
- 9 * 3 + 16 / 8
- 27 + 16 / 8
- 27 + 2
- 29
การคูณและการหาร
คำนวณผลคูณและผลหารในนิพจน์ พึงระวังว่าการคูณไม่ได้จำเป็นต้องทำก่อนการหาร การดำเนินการที่ถูกต้องเมื่อพบเครื่องหมายคูณและเครื่องหมายหารต่อเนื่องกันคือต้องทำจากซ้ายไปขวาเสมอตัวอย่าง:การบวกและการลบ
ลำดับสุดท้ายคือการบวกและการลบ เช่นเดียวกับการคูณและการหาร การบวกและการลบทำจากซ้ายไปขวาเสมอตัวอย่างเมื่อคำนวณตามกฏทั้งหมด
การดำเนินการทางคณิตศาสตร์
การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ต้องดำเนินการตามลำดับหัวข้อดังต่อไปนี้
1.
ดำเนินการในวงเล็บก่อน
จากซ้ายไปขวา
2.
เลขยกกำลัง
และ กรณฑ์ จากซ้ายไปขวา
3.
การคูณ
และ หาร จากซ้ายไปขวา
4.
การบวก
และ การลบ จากซ้ายไปขวา
วงเล็บและเลขยกกำลัง
เมื่อพบวงเล็บหรือเลขยกกำลังในนิพจน์
ให้ดำเนินการคำนวณนิพจน์ย่อยที่อยู่ในวงเล็บหรือคำนวณเลขยกกำลังก่อน
ตัวอย่าง:
(5 + 3) * (3 -1) + 23
(5 + 3) * (3 -1) + 23
8 * (3 -1) + 23
8 * (3 -1) + 23
8 * 2 + 23
8 * 2 + 8
การคูณและการหาร
คำนวณผลคูณและผลหารในนิพจน์
พึงระวังว่าการคูณไม่ได้จำเป็นต้องทำก่อนการหาร
การดำเนินการที่ถูกต้องเมื่อพบเครื่องหมายคูณและเครื่องหมายหารต่อเนื่องกันคือต้องทำจากซ้ายไปขวาเสมอ
ตัวอย่าง:
5 * 5 - 9 / 3
5 * 5 - 9 / 3
25 - 9 / 3
25 - 9 / 3
25 - 3
การบวกและการลบ
ลำดับสุดท้ายคือการบวกและการลบ
เช่นเดียวกับการคูณและการหาร การบวกและการลบทำจากซ้ายไปขวาเสมอ
ตัวอย่างเมื่อคำนวณตามกฏทั้งหมด
(1 + 5) * (5 - 1) + 16 / 23
(1 + 5) * (5 - 1) + 16 / 23
6 * (5- 1) + 16 / 23
6 * 4 + 16 / 23
6 * 4 + 16 / 8
6 * 4 + 16 / 8
24 + 16 / 8
24 + 2
26
การคำนวณทางคณิตศาสตร์
วงเล็บและเลขยกกำลัง
เมื่อพบวงเล็บหรือเลขยกกำลังในนิพจน์
ให้ดำเนินการคำนวณนิพจน์ย่อยที่อยู่ในวงเล็บหรือคำนวณเลขยกกำลังก่อนตัวอย่าง:
(2 + 5) * (5-1) + 23
(2 + 5) * (5 -1) + 23
7 * (5 -1) + 23
7 * (5 -1) + 23
7 * 4 + 23
7 * 4 + 8
การคูณและการหารคำนวณผลคูณและผลหารในนิพจน์ พึงระวังว่าการคูณไม่ได้จำเป็นต้องทำก่อนการหาร การดำเนินการที่ถูกต้องเมื่อพบเครื่องหมายคูณและเครื่องหมายหารต่อเนื่องกันคือต้องทำจากซ้ายไปขวาเสมอ
ตัวอย่าง:
5 * 5 - 12 / 3
5 * 5 - 12 / 3
25 - 12 / 3
25 – 12 / 3
25 - 4
ลำดับสุดท้ายคือการบวกและการลบ เช่นเดียวกับการคูณและการหาร การบวกและการลบทำจากซ้ายไปขวาเสมอ
ตัวอย่างเมื่อคำนวณตามกฏทั้งหมด
(4 + 8) * (4 - 2) + 16 / 23
(4 + 8) * (4 - 2) + 16 / 23
12 * (4 - 2) + 16 / 23
12 * 2 + 16 / 23
12 * 2 + 16 / 8
12 * 2 + 16 / 8
24 + 16 / 8
24 + 2
26
Subscribe to:
Posts (Atom)